วันพฤหัสบดีที่ 24 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2554

บันทึกการเรียนรู้ครั้งที่ 15


วันที่ 15 กุมภาพันธ์ 2554


วันนี้เป็นการเรียนการสอนครั้งสุดท้ายอาจารย์ได้กล่าวถึงงานที่ค้างส่ง และทำบล็อกให้เสร็จใครที่ไม่ทำอะไรก็ให้ทำให้เสร็จ และอารจาย์มีบทความเล็กน้อยเพื่อนให้นักศึกษาฟัง หลังจากฟังเสร็จก็นัดนักศึกษามาสอบในวันที่่ 27 กุมภาพันธ์ 2554
ส่งงานปฏิทิน

บันทึกการเรียนรู้ครั้งที่ 14

วันที่ 8 กุมภาพันธ์ 2554


วันนี้อารจย์ได้ทดสอบนักศึกษาในห้องว่าที่เรียนมาได้อะไรบ้างโดยใครจะเปิดสมุดก็ได้แต่ห้ามนำของเพื่อนมาดูคำถามที่อาจารย์ถามมีดังนี้

1.การจัดสภาแวดล้อมที่ดีควรมีลักษณะอย่่างไร....
2.มุมที่ดีควรมีลักษณะอย่าไร
3.มุมบ้าน
4.มุมหมอ
5.มุมร้านค้า
6.มุจราจร

เนื้อหาในวันนี้
-มุมบ้าน คือ การเลีนยแบบชีวิจริง
-มุมหมอ คือ กมอ การกรอประวัติ การสั่่งยา ที่ชั่งกิโล
-มุมร้ายค้า คือ เงิน สิ่งของ มีราคารสิ่งค้า
-มุมจราจร อาจอยู่ในมุมบล็อก จัดมุมในสนาม

ข้อคิดสำหรับการสอนภาษา
-เริ่งจากเด้กก่อนนไปว่าจะเป็นความพร้อมหรือความสนใจ
-สอนเเบบเป็นธรรมชาติ
-สอนอย่ามีความหมาย
-สอนจากสิ่งที่เด้กได้พบเห็น หรือมีประสบการณ์มาก่อน
-สอนให้เด้กรู้สึกสนุกและอยากเรียน
-ให้โอการเด็กได้ใช้ภาษา เช่น เด็กอยากพูดก็ควรให้พูด เด็กอยากฟังก็ควรให้ฟัง เด็กอยากอ่านก็ควรให้อ่าน เด็กอยากเขียนก็ควรให้เขียน
ทำไมเราจึงอ่านหนังสือให้เด็กฟัง เพื่อให้เด็กได้รับประสบการณืและคุ้ยเคยกับตัวหนังสือ เด็กจะเกิดการเรียนรู้
-ภาษาเขียนอ่านลำดับจากหน้าไปหลัง ซ้ายไปขาวบนลงล่าง
-ตังหนังสือแตกต่างจากภาพ
-ตังหนังสือก่อให้เกิดนิทานและเรื่องราวต่าง ๆ
- ตัวหนังสือทำให้เกิดเสียง

ข้องความในหนังสือเป็นภาษา

ควรสอนอ่านก่อนขึ้นชั้ยประถมศึกษาปีที่หนึ่งหรือไม่
ควร ถ้าสภานการณ์เป็นไปตามนี้
- เป็นความปราถนาที่มาจากตังเด็ก
- วิธีการเปมาะสมกับเด้ก
-เด็กมีความพร้อม ที่จะอ่าน
-เด็กได้ใช้การอ่านเพื่อเสริมสร้างประสบการณ์
-ครูสร้างความสนใจคำและหนังสือ
-ใช้ประสบการณ์ตรงในการสนับสนุนการอ่าน
-มีการพูด ถาม ตอบ และเเก้ไขปัญหาอยู่เสมอ
-ให้ผู้ปกครองมีส่วนร่วมในการอ่าน ส่งเสริม
ไม่ควร ถ้าสถานการณ์เป็นเช่นนี้
-สอนโดยใช้แบบฝึกหัดเป็นประจำทุกวัน
-คาดหวังให้เด็กทำตามเหมือกันทุกคน
-เน้นความเงียบ
-จัดกลุ่และเรียงกลุ่มเด็กตามความสามรถในหารอ่าน

เทคนิกที่ควรนำมาใช้ในการสอน
-สอนในสภาพแวดล้อมที่เป็นนามธรรม
-สิ่งที่มมีความหมายสำหรับเด็ก
-สอนในสิ่งที่รู้ไปสุู่สิ่งไม่รู้
-บูรณาการเข้ากับสาขาวิชาอื่น
-ให้โอกาศเด็กทุกคนเรียนรู้ภาษา
-ใช้ความคิดและถ้อยคำของเด็ก
-ยอมรับการคาดเดาของเด็ก
-ให้โอกาสเด็กอย่างมากมาย
-จัดหาเครื่องเครื่องใช้ต่างๆ
-ทำให้การเรียนรู้น่าสนใจ และสนุกสนาน

เทคนิคที่ไม่ควรนำมาใช้ในการสอนภาษา
-เน้นความจำ
-เน้นการฝึก
-ใช้การทดสอบ
-สอนแต่ละลักษณะแยกจากกัน
-การตีตราเด็ก
-ใช้แบบฝึกที่เป็นกระดาษหรือดินสอเป็นจุดประ
-ไม่ยอมรับความผิดพลาด
-สอนภาษาเฉพาะในเวลาที่กำหนด

บันทึกการเรียนรู้ครั้งที่ 13

วันที่ 1กุมภาพันธ์ 2554


องค์ความรู้ที่ได้

ความรู้ของเด็กจะเพิ่มพูนขึ้นเมื่อเด็กได้รับโอกาสในการทำกิจกรรม ที่เกี่ยวกับการอ่านร่วมกับผู้ใหญ่ และกิจกรรมที่จัดให้เด็กได้อ่านเงียบๆตามลำพัง การอ่านกับเพื่อนเป็นคู่ เป็นกลุ่มย่อย เพื่ออภิปรายร่วมกัน ในการรับฟังและตรวจสอบความคิดความเข้าใจซึ่งกันและกัน โดยเฉพาะการอ่านจากสิ่งที่ครูเด็กเขียนร่วมกัน โดยเฉพาะการอ่านจากสิ่งที่ครู -เด็ก เขียนร่มกันกรือสิ่งที่เขียนขึ้นเอง นับได้ว่าเป้ฯการอ่านที่ดีที่สุดของเด็ก
.ลักษณะสำคัญและกิจกรรมทางภาษาแบบองค์รวม.

1.อ่าน-เขียน
-เน้นความเข้าใจเนื้อเรื่องมากกว่าการท่องจำตัวหนังสือผ่านนิทาน เรื่องราวที่สนทนาโต้ตอบคิดวิเคราะห์ร่วมกับครูหรือผู้ใหญ่
-การคาดคะแนในการอ่าน โดยการเดาในขณะอ่าน เขียน และสะกด เป็นสิ่งที่ยอมรับได้ในการเรียนรู้ภาษาธรรมชาติ
-มีหนังสือ วัสดุสิ่งพิมพ์ต่างๆให้เด็กเป็นผู้เลือก
-ครูแนะนำและสอนอ่านในกลุ่มที่ไม่ใหญ่มาก โดยใช้หนังสือเล่มใหญ่
-ให้เด็กแบ่งกลุ่มเล็กๆ ผลัดกันอ่านด้วยการออกเลียงดัง
-ครูสอนการอ่านอย่างมีความหมายด้วยความสนุกสนานในกลุ่มย่อย
-เปิดโอกาสให้เด็กพูดคุยชักถาม
-ให้เด็กแต่ละคนมีโอกาสเลือกอ่านหนังสือที่ชอบ
-ให้เด็กได้ขีดเขียน ขีดเขี่ย
.ความเชื่อมโยงภาษาพูดกับภาษาเขียน.
..ขั้นของพัฒนาการในการอ่าน..
1.ขั้นแรก คำที่มีความหมายต่อชีวิตเด็ก
2.ขั้นสอง ผู้เรียนจะผูกพันกับตัวอักษรเพิ่มขึ้น เรียกชื่อได้ หรืออ่านได้ถูกต้อง
3.ขั้นสาม เด็กแยกแยะตัวอักษาตลอด
4.ขั้นสุดท้าย ระบบของตัวอักษร คือเป้าหมายปลายทางสุดท้ายของการอ่าน
..การเรียนรู้และพัฒนาการด้านภาษาเขียนของเด็กวัยก่อนเรียน..

(ระยะแรก)เด็กเริ่มแยกแยะความแตกต่างระหว่างสัญลักษณ์ที่ใช้แทนอักษรและที่ไม่ใช้อักษร เขาจะใช้สัญลักษณ์ที่เขาคิดขึ้นมาเองแทนอักษร
(ระยะที่สอง)การเขียนตัวอักษรที่ต่างกัน สำหรับคำพูดแต่ละคนพูด เด็กจะเริ่มแสดงความแตกต่างของข้อความ โดยการเขียนตัวอักษรที่ต่างกัน
(ระยะที่สาม)เด็กเริ่มใช้ลักษณะการออกเสียงในขณะเขียน และการเขียนของเด็ก

บันทึกการเรียนรู้ครั้งที่ 12

วันที่ 25 มกราคม 2554


องค์ความรู้ในวันนี้

กู๊ดแมน สมิธ เมอร์ริดิธ
ความรู้จะเกิดขึ้นอย่างพรั่งพรูจากกระบวยการเรียนรุ้และมีการพัฒนาภาษาพูด ภาษาเขียน ซึ่ครูจะเห็นได้ชัดเจนจากากรที่เด็กนัั้นอาศัยภาษาแก้ปัญหาต่าง ๆ
ครูใช้ภาษาทุกด้าน ทักษะ ด้านการฟัง พูด อ่าน เขียน แบบองค์รวมในทุกกิจกรรมในห้องเรียน เช่น การวิเคราะห์เรื่องราวต่าง ๆ การแนะแนะหลักสูตร การทำจดหมายข่าว การเขียนบทความ การเขียนหนังสือต่าง ๆ
จูดิท นิวแมน (Judith Newman)
การสอนภาษาโดยแนวคิดองค์รวมมีลักษณะเป็นปัญญา [ Philoscphical Stance ]ความคิดของผู้สอนดดยก่อตัวขึ้นจากหลักการสอนที่ผู้สอนนำมาบรูณาการ

จอห์น ดิวอี้
การเรียนภาษาของเด็กเกิดจากประสบการณ์ตรงดดยการลงมือกระทำ
ทฤษฏีที่เป็นกุญแจสำคัญของการสท้อนความคิดต่อการสอนของครู [Reflective teaching ]
ผู้เรียนต้องเป็นศูนย์กลางของกระบวนการเรียนครูผู้สอนควร บรูณาการด้านภาษาให้กลมกลืนไปกับการเรียนทุกเรื่องในหลักสูตร

เพียเจท์
เด็กจะเรียนผ่านกิจกรรมด้วยการเคลื่อนไหวและมีปฏิสัมพันธ์กับสิ่งแวดล้อมเพื่อสร้างองคืความรู้ขึ้นภายในตนเองนั้นโดยเด้กเป็นผู้กระทำ Active ก่อให้เกิดความรู้ในการคิดด้วยตนเอง

สรุป
จึงกล่าว่า การเรียนรุ้ของเด็กดกิดขึ้นจากการมีปฏิสัมพันธ์กับสิ่งแวดล้อมผ่านการแล่ซึ่งช่วยให้เด้กได้เรียนรู้ภาษาจากกิจกรรมที่ร่วมกันและเป็นรายบุคคล


ไวกอตสกี
การเรียนภาษาของเด็ก เกิดขึ้นได้จากการมีปฏิสัมพันธ์กับบุคลใกล้เคียง เช่น พ่อ แม่ เพื่อน และครู
บริบทหรือสิ่งต่าง ๆ รอบตัวมีอิทธิพลต่อเด้กในการช่วยเหลือให้ลงมือทำเป็นขั้นตอนผ่านการเล่นและกิิจกรรม นำไปสู่การเรียนรู้ภาษาผ่านการใช่สัญลักษณ์

ฮอลลิเดย์
บริบทที่แวดล้อมในสถานที่หลายหลายที่มีอิทธิพลต่อการเรียนรู้ และการใช้ภาษาของเด็ก

กู๊ดแมน
ภาษาเป็นเครื่องมือที่สำคัญสำหรับชีวิตเด็กเด้กต้องเรียนรู้ภาษาและต้องใช้ภาษาเพื่อการเรียนรู้ ดังนั้น ครุต้องตระหนักและให้ความสำคัญกับภาษา

กระบวนการเรียนรู้
บรรยากาศในห้องเรียน มีลักษณะของการร่วมมือกันระหว่าเด็กๆ ตั้งแต่การวางแผน คืด คิดด้วยกันว่ามีอะไร ทำเมื่อไร ทำอย่างไร จำเป็นต้องทำอย่างไร จะหาสิ่งที่ต้องทำ การมาได้อย่างไร และใครจะช่วยทำงานในส่วนใด

การวางแผน long-range pla
การฟังและการพูดของเด็ก
เด็กโอกาศได้ยินเสียงแม่พูด แม้ว่ายังพูดไม่ได้เด็ก เกิดการเรียนรุ้ภาษาพุดเพราะ การสอนเด็กให้พูดนั้น เด็กจำเป็นต้องได้ยินได้ฟังภาษาพูดก่อน ยิ่งได้ฟังมากจะทำให้เข้าใจชัอเจนขึ้นและยิ่งเรียนรู้คำศัพย์มากขึ้นการเรียนรู้วิธีการพูดเป็นปรพโยคยาวๆทำให้เด็กมีพัฒนาการทางด้านภาษาอย่างรวดเร็วยิ่งขึ้น

วันพุธที่ 23 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2554

บันทึกการเรียนรู้ครั้งที่ 11

วันที่ 18 มกราคม 2554


วันนี้บรรยากาศในห้องเรียนสนุกสนานเนื่อจากกิจกรรมวันนี้เป็นการร้องเพลงและนึกเรื่องที่ทำให้ตนดีใจหรือเสียใจ เศร้า ตลก
....เนื้อเพลงในวันนี้.....

เพลง... สวัสดี
สวัสดี สวัสดี สวัสดี ยินดีที่พบกัน
เธอและฉัน พอกันสวัสดี

......................

เพลง... ชื่อของเธอ
ชื่อของเธอฉันไม่รู้จัก ครูถามทักนักเรียนเข้าใหม่
ชื่อของเธอฉันจำไม่ได้ ชื่ออะไรขอให้บอกมา
.................

เพลง แปรงฟัน
แปรงสิ แปรง แปรง ฟัน ฟัน หนู สวย สะอาดดี
แปรงขึ้น แปรงลง ทุกซี่ สะอาดดีเมื่อหนูแปรงฟัน
....................

เพลง แมงมุมลายตัวนั้น
แมงมุมลายตัวนั้น ฉันเห็นมันชนซามเหลือทน
วันหนึ่งมันเปียกฝน ไหลลงจากบนหลังคา
พระอาทิตย์ส่องแสง ฝนแห้งเหือดไปลิบตา
มันรับไต่ขึ้นฝา หันหลังมาทำตาลุกวาว
.......................

เพลง... บ้านของฉัน
บ้านของฉัน อยู่ด้วยกันมากหลาย
พ่อ แม่ ลุง ป้า ปู่ ย่า ตา ยาย
มีทั้ง น้า อานี่ และน้องมากมาย
ทุกคนสุขสบาย เราเป็นพี่น้องกัน
.......................


เพลง... อย่าทิ้ง
อย่าทิ้ง อย่าทิ้ง อย่าทิ้ง ทิ้งแล้วจะสกปรก
ถ้าเราเห็นมันรก ต้องเก็บ ต้องเก็บ ต้องเก็บ
.....................

เพลง...Hollo
Hollo Hollo ! How are you ?
I'm find.. I'm find I hope thal you are too....
......................

เพลง....บาน- หุบ
บาน หุบ หุบ บาน บาน หุบ หุบ หุบ บาล
ผีเสื้อ เบิกบาล บิน มา ไว ไว
ดอกไม้แสนสวย ชู กลีบ ไหว ไหว
เพลินตา เพลินใจ ดอกไม้ แสนงาม
.....................

บันทึการเรียนรู้ครั้งที่ 10

วันที่ 15 มกราคม 2554


ในวันนี้เป็นการเรียนการสอนในวันเสาร์บรรยกาศในห้องเรียนค่อนข้างเงียบเพราเนื่องจากมีนักศึกษามาเรียนน้อยประมาณ 15คนจึงทำให้บรรยากาศในห้องเรียนเงียบ

องค์ความรู้ที่ได้รับ

ระบบโครงสร้าง Structure stage
อายุ 4-5 ปี การรับรู้และการสังเกตของเด็กวัยนี้ดีขึ้นมาก ซึ่งทำให้เด้กได้สังเกตการใใช้ภาษาของบุคคลที่อยู่รอบข้างและนำมาทดลองใช่ประสบการณ์ที่เด้กได้รับ เช่น จากการฟังนิทาน ดูราการวิทยุ โทรทัศน์ การเล่นกัยเพื่อน หรือพี่น้อง การพูดคุ้ยกับผู้ใหญ่ ล้วนแล้วแต่เป็นการช่วยให้เด็กเก็บข้อมูลทางภาษาให้เพิ่มมากขึ้นรู้สึกเล่นสนุกสนานกับคพและประโยคด้วยตนเอง โดยจดจำคำหรือสีลาตลอดจนประโยคที่ได้ยินมา

ระยะสร้างสรรค์ Cretive stage

อายุตั้งแต่ 6 ปีขึ้นไป เด็กจะพัฒนาความสามรถทางภาษาได้สูงขึ้น สามารถจดจำสัญลักษณ์ทางภาษาได้มากขึ้นด้วยการพูด สามารถใช้ถ้อยคำที่เป็นสำนามหรือคำที่มีความหมายลึกซึงได้ เด้กจะพัฒนาวิเคราะห์และสร้างสรรค์ทักษะทางภาษาได้สูงขึ้น ใช้ภาษาพูดที่เป็นนามธรรมมากขึ้นด้วย การสื่อสารในขั้นตอนนี้ จะเป็นการเเสดงออกซึ่งความรู้สึกนึกคิด
การจัดประสบการณ์ทางภาษาธรรมชาติ

ภาษา บูรณาการ
1.การเคลื่อนไหว
2.ศิลปะ
3.กิจกรรมกลางแจ้ง
4.กิจกรรมเสรี
5.กิจกรรมเสริมประสบการณ์
6.เกมการศึกษา
ภาษาธรรมชาติ( whole language approach) เป็นการสอนภาษาโดยองค์รวม

บันทึกการเรียนรู้ครั้งที่ 9

วันที่ 11 มกราคม 2554


ในวันนี้บรรยากาศในห้องค่อนข้างจะสบายๆ เพราะอาจารย์ไม่บังคับว่าใครจะจดก็ได้หรือไม่จดก็ได้

องค์ความรู้ที่ได้รับในวันนี้
1. ให้ประโยคมาว่า ฉัน ชอบ กิน .................... และในเพื่อนในห้องออกมาแสดงท่าทางเพื่อนให้เพื่อนในห้องท้ายว่าเพื่อนชอบกินอะไร
2. สาระการเรียนจาก POWR POINT
เด็กปกติทุคนทั่วทุกแห่งจะสามารถเรียนภาษาในสังคมของตนเอง เด็กเล็กจะมีความจำกัดของความสามารถทางสมอง เเต่ถึงอย่างไรก็ตามเด็กอายุสามถึงสี่ปีสามารถเรียน ความซัยซ้อนของปรพโยคในภาษาของตนเองได้แล้ว ดูเหมือนว่าเด็กจะเรียนรู้กฏของภาษาที่ตนได้ยินและประโยคที่เด็กพูดจะเป็นประโยคที่เด็กสร้างขึ้นใหม่มากกว่า การเลียบแบบ การเรียนรู้ภาษาของเด็กนั้น เด็กต้องเรียนรู้โดยการฟังคนพูดและการอยู่ในสถานการณ์นั้น ๆ ด้วย เด้กพายามเข้าใจในสิ่งที่ตนได้ยินและพมายามแสดงออกถึง ความตั้งใจ ในสิ่งที่เราสามารถทำได้
ภาษามีอิธิพลต่อผู้รับรู้และความคิดของคนเรา
ความคิดจะต้องใช้ภาษา เราต้องรู้ถึงขอบเขตของภาษาในการกำหนดความคิดและการที่จะทำของภาษา ภาษามีบทบาท อันสำคัยในกระบวนการพัฒนาการทางสติปัญญา ภาษาเป็นเครื่องมืออันสำคัยของความคิด สิ่งจำเป็นพื้นฐานของการเรียน

ภาษา คือ การเเสองมโนทัศน์
ภาษาจะต้องมีการแสดงออกทางก้านสื่อสาร เช่น การย้ำ ปฏิเสธ ร้องขอ สั่่ง ฯลฯ ภาษามีจุดประสงค์ที่ซับซ้อน การใช็ภาษาในลักษณะต่างกัน

วิเคราะห์กิจกรรมส่งเสริมทักษะทามงภาษา
-โฆษณา
-ประชาสัมพันธ์
-ประกาศ
-ของรักของห่วง
-เล่าเรื่องจากภาพ
-เล่าเรื่องตากประสบการณ์ตรง