วันพฤหัสบดีที่ 24 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2554

บันทึกการเรียนรู้ครั้งที่ 13

วันที่ 1กุมภาพันธ์ 2554


องค์ความรู้ที่ได้

ความรู้ของเด็กจะเพิ่มพูนขึ้นเมื่อเด็กได้รับโอกาสในการทำกิจกรรม ที่เกี่ยวกับการอ่านร่วมกับผู้ใหญ่ และกิจกรรมที่จัดให้เด็กได้อ่านเงียบๆตามลำพัง การอ่านกับเพื่อนเป็นคู่ เป็นกลุ่มย่อย เพื่ออภิปรายร่วมกัน ในการรับฟังและตรวจสอบความคิดความเข้าใจซึ่งกันและกัน โดยเฉพาะการอ่านจากสิ่งที่ครูเด็กเขียนร่วมกัน โดยเฉพาะการอ่านจากสิ่งที่ครู -เด็ก เขียนร่มกันกรือสิ่งที่เขียนขึ้นเอง นับได้ว่าเป้ฯการอ่านที่ดีที่สุดของเด็ก
.ลักษณะสำคัญและกิจกรรมทางภาษาแบบองค์รวม.

1.อ่าน-เขียน
-เน้นความเข้าใจเนื้อเรื่องมากกว่าการท่องจำตัวหนังสือผ่านนิทาน เรื่องราวที่สนทนาโต้ตอบคิดวิเคราะห์ร่วมกับครูหรือผู้ใหญ่
-การคาดคะแนในการอ่าน โดยการเดาในขณะอ่าน เขียน และสะกด เป็นสิ่งที่ยอมรับได้ในการเรียนรู้ภาษาธรรมชาติ
-มีหนังสือ วัสดุสิ่งพิมพ์ต่างๆให้เด็กเป็นผู้เลือก
-ครูแนะนำและสอนอ่านในกลุ่มที่ไม่ใหญ่มาก โดยใช้หนังสือเล่มใหญ่
-ให้เด็กแบ่งกลุ่มเล็กๆ ผลัดกันอ่านด้วยการออกเลียงดัง
-ครูสอนการอ่านอย่างมีความหมายด้วยความสนุกสนานในกลุ่มย่อย
-เปิดโอกาสให้เด็กพูดคุยชักถาม
-ให้เด็กแต่ละคนมีโอกาสเลือกอ่านหนังสือที่ชอบ
-ให้เด็กได้ขีดเขียน ขีดเขี่ย
.ความเชื่อมโยงภาษาพูดกับภาษาเขียน.
..ขั้นของพัฒนาการในการอ่าน..
1.ขั้นแรก คำที่มีความหมายต่อชีวิตเด็ก
2.ขั้นสอง ผู้เรียนจะผูกพันกับตัวอักษรเพิ่มขึ้น เรียกชื่อได้ หรืออ่านได้ถูกต้อง
3.ขั้นสาม เด็กแยกแยะตัวอักษาตลอด
4.ขั้นสุดท้าย ระบบของตัวอักษร คือเป้าหมายปลายทางสุดท้ายของการอ่าน
..การเรียนรู้และพัฒนาการด้านภาษาเขียนของเด็กวัยก่อนเรียน..

(ระยะแรก)เด็กเริ่มแยกแยะความแตกต่างระหว่างสัญลักษณ์ที่ใช้แทนอักษรและที่ไม่ใช้อักษร เขาจะใช้สัญลักษณ์ที่เขาคิดขึ้นมาเองแทนอักษร
(ระยะที่สอง)การเขียนตัวอักษรที่ต่างกัน สำหรับคำพูดแต่ละคนพูด เด็กจะเริ่มแสดงความแตกต่างของข้อความ โดยการเขียนตัวอักษรที่ต่างกัน
(ระยะที่สาม)เด็กเริ่มใช้ลักษณะการออกเสียงในขณะเขียน และการเขียนของเด็ก

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น